100

กลุ่มสมาชิก (ราย)

60

พื้นที่ปลูกฝาง (ไร่)

เป้าหมาย

  1. เพื่อแก้ไขปัญหาช้างป่ามากินพืชสวนพืชไร่ ปลูกต้นฝาง ช้างป่าไม่กินจึงเกิดเป็นพืชเศรษฐกิจ
  2. เพื่อขจัดความยากจนของประชาชน เพื่อให้ป่าไม้อุดมสมบูรณ์
  3. เพื่อคนช้าง สัตว์ป่าเล็ก สัตว์ป่าน้อยใหญ่ดำรงชีวิตประจำวันอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

ปัญหาหรือจุดอ่อน

  1. กำลังการผลิต การปลูกฝางเพื่อตอบสนองตลาดอนาคต (อาจไม่เพียงพอ)
  2. การบริหารจัดการกลุ่มองค์กรให้เป็นระบบระบบ บทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่ม
  3. องค์ความรู้เรื่องบัญชี ระบบต่าง ๆ
  4. การตลาด ออฟไลน์ ออนไลน์

การพัฒนาศักยภาพกลุ่ม

  1. ขยายกำลังการปลูกฝาง ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเพิ่มหรือขยายเครือข่ายการปลูกฝาง
  2. พัฒนาสินค้าต่อไปนี้ข้าวเคลือบฝาง น้ำฝาง สบู่ฝาง น้ำมันเทพทาโร แก่นฝางชง ฝางผสมสมุนไพร แก่นฝาง เป็นต้น
  3. พัฒนาองค์ความรู้ทำแผนธุรกิจของกลุ่ม เพื่อให้มีการเติบโตทางธุรกิจมากยิ่งขึ้น
  4. การตลาด จัดหาผู้ที่มีความสามารถในการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ โฆษณาหรือ โปรโมทสินค้าให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
  1. ปลูกฝางในรูปแบบ Contract farming กับวิสาหกิจเพื่อสร้างรายได้จากการขายวัตถุดิบ
  2. จัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม สินค้าทดลอง และขยายตลาด ออนไลน์ ออฟไลน์
  3. สร้างการรับรู้ประโยชน์ของฝาง
  1. เครื่องดื่มสารสกัดฝาง
  2. ชุดเซ็ทพกพา Travel Set
  3. เจลลี่บรรจุซอง
  4. อาหารเสริมจากฝาง

ข่าวที่เกี่ยวข้อง